ถ่านหินสะอาดมาแรง! บทสรุปเทคโนโลยีโรงไฟฟ้าคู่สิ่งแวดล้อมทศวรรษนี้

โรงไฟฟ้าปัจจุบันที่ต้องคำนึงถึงการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การลดมลภาวะ SOx NOx รวมถึง CO2 นั้น การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คือ วิธีการที่ใช้ได้เชิงพาณิชย์ และมีต้นทุนการผลิตต่ำที่สุด ในอนาคตอันใกล้นี้ยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องโดยการพัฒนาเทคโนโลยี Combustion และ Gasification อีกด้วย

โรงไฟฟ้าความร้อนแสงอาทิตย์ (Solar Thermal Energy) ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เปิดทำการแล้ว

Ivanpah Solar Electric Generating System โรงไฟฟ้าพลังความร้อนแสงอาทิตย์ (solar thermal plant) ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เปิดทำการแล้วในแคลิฟอร์เนีย มีกูเกิลเป็นเจ้าของร่วม

Shell ปี 2557 เตรียมขยายปั๊มอีก 50 แห่ง, เพิ่มจำนวนปั๊มที่ขาย E20

แผนธุรกิจของ Shell ในปี 2557 ขยายปั๊มน้ำมันเพิ่มอีก 50-60 แห่ง รวมถึงการปรับปรุงปั๊มเก่าครั้งใหญ่ ทั้งด้านร้านสะดวกซื้อ ห้องสุขา สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ โดยถือเป็นการลงทุนครั้งใหญ่ของเชลล์ประเทศไทยในรอบ 10 ปี

กูเกิลทุ่ม 80 ล้านดอลลาร์ ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์อีก 6 แห่ง

กูเกิลประกาศข่าวว่าควักเงินราว 80 ดอลลาร์ ลงทุนในโรงงานไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์จำนวน 6 แห่งในรัฐแคลิฟอร์เนียและแอริโซนา

ผลกระทบเมื่อแรงดันไฟฟ้าต่ำ

สิ่งสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิตของประเทศเป็นอย่างมาก การที่จำนวนโรงไฟฟ้าไม่พอ สามารถทำให้เกิดปัญหาเรื่องแรงดันไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าได้

Solar Rooftop ฮิต – เอกชนเสนอขายพลังงานแสงอาทิตย์วันแรกทะลุเป้า

โครงการการรับซื้อไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop) ของ กฟภ. และ กฟน. ฮิตเกินคาด เปิดรับ 200 เมกะวัตต์ วันแรกได้ยอดทะลุเป้าถึง 500 เมกะวัตต์

อินเดียเตรียมสร้างโรงไฟฟ้าแสงอาทิตย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก 4,000 เมกะวัตต์

รัฐบาลอินเดียอนุมัติแผนสร้างโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในรัฐราชสถาน (Rajasthan) ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ มีกำลังการผลิต 4,000 เมกะวัตต์ ใช้พื้นที่รวม 23,000 เอเคอร์

เคเบิลใต้ทะเล วงจรใหม่สู่เกาะสมุย

PEA ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าเกาะสมุย 2 ในวงเงินลงทุน 204.8 ล้านบาท และก่อสร้างสายเคเบิลใต้น้ำระบบ 115 kV วงจรที่ 3 เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับเกาะสมุยและเกาะพะงัน โดยมีการวางสายเคเบิลใต้น้ำจากสถานีไฟฟ้าแรงสูงอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ไปยังสถานีไฟฟ้าเกาะสมุย 2 อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเพิ่มความมั่นคงในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้เกาะสมุยและเกาะพะงัน ในวงเงิน 3,994 ล้านบาท และได้ทดลองจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าระบบตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม 2556 เป็นต้นมา ซึ่งจะรองรับความต้องการปริมาณการใช้ไฟฟ้าบนเกาะสมุยและเกาะพะงันได้ประมาณ 200 MW และรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าได้ไม่น้อยกว่า 10 ปี

Power Engineering Magazine อัพเดท

โรงไฟฟ้าถ่านหินสร้างใหม่ในอเมริกา ต้องปล่อย CO2 ไม่เกิน 1,100 pounds/MWh คือ โรงไฟฟ้าถ่านหินจะทำตามมาตรฐานเท่านี้ได้ ต้องเพิ่มระบบดักจับและกักเก็บ CO2 (Carbon Capture and Storage) ด้วย อย่างไรก็ตาม การพัฒนาระบบดังกล่าวยังไม่ประสบผลสำเร็จในเชิงธุรกิจ

1 2 3 4 5 6 15